การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง วิทยาการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA Intensive Workshop)
ระหว่างวันที่ 17-21 กุมภาพันธ์ 2563
ณ ห้อง 1401 อาคาร 1 ชั้น 14 สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2563
วิทยากร : ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- แนวโน้มและทิศทางการพัฒนาที่มีผลกระทบต่อระบบสุขภาพ
- แนวคิด หลักการประเมินผลกระทบ และระบบการประเมินผลกระทบที่สำคัญ
- การประเมินผลกระทบทางสุขภาพในกระบวนการนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ
วิทยากร : อ.สัญชัย สูติพันธ์วิหาร
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- กฎหมายและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
- การมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
- ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 4 ขั้นตอน ได้แก่
- การกลั่นกรอง (Screening)
- การกำหนดขอบเขตแนวทางการประเมินผลกระทบ (Scoping)
- การประเมินผลกระทบ (Assessing)
- การจัดทำร่างรายงาน (Review)
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563
วิทยากร : ดร.เพ็ญ สุขมาก
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- กระบวนการและขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพโดยชุมชน (Community health impact assessment: CHIA)
วิทยากร : ผศ.ดร.ฐิติวร ชูสง
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- การประเมินความเสี่ยงในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
วิทยากร : ดร.สินาด ตรีวรรณไชย
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- การใช้กระบวนการและเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
วิทยากร : ผศ.ดร.อาภรณ์ทิพย์ บัวเพ็ชร์
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- การใช้กระบวนการและเครื่องมือทางสังคมในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563
วิทยากร : ดร.วิสาข์ สุพรรณไพบูลย์
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- การใช้กระบวนการและเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
วิทยากร : นพ.อมร รอดคล้าย
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- การใช้ระบาดวิทยาและเครื่องมือระบาดวิทยาภาคประชาชนในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
วิทยากร : ดร.นพ.ธรรมสินธ์ อิงวิยะ
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- ตัวชี้วัดสำคัญทางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นพื้นฐานการศึกษาในการทำ HIA
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563
ลงพื้นที่ศึกษาดูงาน : โรงไฟฟ้าจะนะ จังหวัดสงขลา
ลงพื้นที่ศึกษาดูงาน : โรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563
นำเสนอผลการดูงานในพื้นที่
วิทยากร : ดร.วิสาข์ สุพรรณไพบูลย์
ประเด็นเนื้อหา ประกอบด้วย
- ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
-
- การผลักดันสู่การตัดสินใจ (Decision making)
- การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)